วันจันทร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2558






No.6

Science experiences management for early childhood

Instructor Jintana Suksamran 

Tuesday,October 22,2558

Time 13.00 - 17.30น


นำเสนองานคู่


เรื่อง สัตว์ (Animal)


    เรียนเกี่วกับธรรมชาติรอบตัว สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตรวมไปถึงเรื่องความสัมพันธ์กัน 

การดูแลสิ่งมีชีวติ
     การจัดกิจกรรม อาจจะจัดผ่านกิจกรรมแบบบูรณาการ โดยการนำเปลือกไข่มาทำเป็นโมเสก เล่านิทานเกี่ยวกับสัตว์ อีกทั้งการทำกิจกรรมนี้สามารถเชื่อมโยงให้เข้ากับวทิยาศาสตร์ได้


เรื่อง พลังงานลม (Wind Energy)


     พลังงานลมเป็นพลังงานธรรมชาติ สะอาด บริสุทธิ์ ไม่มีวันหมดไปจากโลก ของเล่นที่ใช้พลังงานลม เช่น กังหันลม มีอุปกรณ์ดังนี้ กระดาษสี ไม้ไผ่ หลอดกาแฟ กาว วิธีการเล่น ให้เด็กถือแล้วให้วิ่งไปปะทะกับลม จากนั้นใบพัดก็จะหมุน ที่ใบผพัดหมุนนั้น เกิดจากอากาศที่เคลื่อนที่ไปกระทบกับวัตถุจึงทำให้กังหันลมหมุน



เรื่อง ดิน หิน ทราย


    จะอยู่ในขอบเขตเรื่องของธรรมชาติรอบตัว เรียนเกี่ยวกับลักษณะและความแตกต่างระหว่าง หิน ดิน ทราย รูปร่างของแต่ละชนิดของ หิน ดิน ทราย


     กิจกรรม อาจจะให้เด็กออกไปสำรวจ หิน ดิน ทราย ภายในโรงเรียน ในด้านนี้เด็กจะได้ทักษะการสังเกต ความแตกต่างของ หิน ดิน ทราย อีกทั้งยังได้เรียนรู้ทั้ง 4 ด้าน

     1.ด้านร่างกาย เด็กได้สัมผัสหิน ดิน ทราย
     2.ด้านอารมณ์ เด็กมีความสุขกับการทำกิจกรรม และการสำรวจ
     3.ด้านสังคม เด็กได้ทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อน ๆ
    4.ด้านสติปัญญา ได้จากการทดลองต่าง ๆ ในเรื่องของ
 หิน ดิน ทราย
ดิน เกิดจากซากพืช ซากสัตว์ที่ทับถมกันหิน เกิดจาก การเกาะตัวของแร่ตั้งแต่ 1 ชนิดขึ้นไป
ทราย มีลักษณะร่วนซุย ไม่เกาะตัวเป็นก้อน

เรื่อง พืช


     จะอยู่ในสาระธรรมชาติรอบตัว เราสามารถจัดกิจกรรมโดยใช้พืช เป็นสื่อในการทำกิจกรรมได้ เช่น กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ อาจจะแจกดอกไม้ให้กับเด็ก เปิดเพลง เมื่อเพลงหยุดให้จับกลุ่มดอกไม้ที่มีสีเดียวกัน เป็นต้น

   กิจกรรมที่เสริมประสบการณ์เกี่ยวกับเด็ก อาจจะให้เด็กปลูกผัก เช่นถั่วงอก หรือพืชที่ขึ้นได้ง่าย ให้เด็กสังเกตการเจริญเติบโต 
    กิจกรรมแยกประเภทของเมล็ดพืช จะส่งเสริมให้เด็กเกิดการสังเกต การเปรียบเทียบ เกิดความคิดรวบยอด ขั้นตอนการทำกิจกรรมมีดังนี้
  •    1.นำเมล็ดพืชต่าง ๆ  ใส่ภาชะ
         2.แยกประเภท
         3.แยกลักษณะที่แตกต่างจากเดิม เช่น สี ขนาด ชนิด
         4.อภิปรายแต่ละกลุ่มมีวิธีการแยกรายละเอียดอย่างไร


ครูควรสอนอย่างไร

ครูควรสอนตรงกับพัฒนาการของเด็ก และต้องสอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ ซึ่งจะทำให้เกิดการเรียนรู้ และเกิดการเปลี่ยนแปลพฤิตกรรม
เทคนิคการสอน (Technical Education)
อาจารย์ใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย โดยใช้โปรแกรม Power Point
มีการใช้คำถาม-ตอบ ในเรื่องที่เรียนอยู่
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
  • Has been ask and answer skill
  • Has been critical thinking skills
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (Adoption)
  • สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนในเรื่องต่าง ๆ เช่น เรื่องสัตว์ พืช พลังงาน อีกทั้ง ยังรู้ถึงการสอนว่าเราควรสอนอย่างไร เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
  • อาจารย์แต่งกายเรียบร้อย เข้าสอนตรงเวลา มีเทคนิคการสอนที่หลากหลายและน่าสนใจ


No.5

     Science experiences management for early childhood

Instructor Jintana Suksamran 

Tuesday,October 15,2558
Time 13.00 - 17.30น


การทำงานของสมอง กับ พัฒนาการ

พัฒนาการ คือ การพัฒนาของสมองหรือการทำงานของสมอง 
สมองจะเชื่อมโยงความรู้เดิม และจะทำให้เกิดความรู้ใหม่
หลักการ/แนวคิดสู่การปฎิบัติจริง
     
   กีเซล พัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนและขั้นตอน 
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนไหว


  การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก

จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหว การเคลื่อนที่ เช่น การเล่นกลางแจ้ง
จัดกิจกรรมที่สร้างสรรค ฝึกการใช้มือและประสาทสัมผัสระหว่างมือกับตา
จัดกิจกรรมให้เด็กฟังเพลง นิทาน 
ทำกิจกรรมเดี่ยวและกลุ่ม


   ฟรอยด์

ประสบการณ์วัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกของคนเรา เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่


   การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
ครูควรเป็นแบบอย่างที่ดี
จัดกิจกรรมเป็นขั้นตอนจากง่ายไปยาก
จัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านและโรงเรียน เพื่อส่งเสริมพัฒนาบุคลิกภาพของเด็ก


   อิริคสัน (Erikson)
ถ้าเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เด็กพอใจ เด็กจะมองโลกในแง่ดีมีความเชื่อมันในตัวเอง


   การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
จัดกิจกรรมให้เด็กได้ประสบผลสำเร็จ พึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมของห้องเรียน เพื่อน ครู
จัดบรรยากาศในห้องเรียน ให้เด็กมีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม


   ดิวอี้ (Dewey)
Learning by doing เรียนรู้ผ่านการกระทำ


   การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้ความรัก ให้เวลา และให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสาทประสบการณ์จริง


   สกินเนอร์ (Skinner)
ถ้าเด็กได้รับคำชมเชยและประสบผลสำเร็จในการทำกิจกรรม เด็กก็จะสนใจทำต่อไป


   เปสตาลอสซี่ (Pestalozzi)
ความรักเป็นพื้นฐานสำคัญและจำเป็นต่อการพัฒนาการเด็ก
เด็กไม่ควรถูกบังคับโดยการท่องจำ


   เฟอเบล (Froeble)
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามธรรมชาติ


   เอลคายน์ (Elkind)
การเร่งเด็กให้เรียนรู้แต่เล็กเป็นอันตรายต่อเด็ก
เด็กควรมีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมการเล่นด้วยตนเอง


การเรียนรู้อย่างมีความสุข
     การพัฒนาการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
การเรียรู้จากการคิดและการปฏิบัติ
การเรียนรู้แบบองค์รวมที่ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน


สรุป 

พัฒนาการเด็กให้ครบทุกด้าน พัฒนาการเน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเองและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมที่จัดต้องมีความสมดุล ยึดเด็กเป็นสำคัญ และต้องประสานสัมพันธ์กับครอบครัวและชุมชน ครอบครัวมีความสำคัญต่อการส่งเสริมและพัฒนาการเด็ก


การเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง

การเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง
เรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
พัฒนาทักษะการสังเกต การเปรียบเทียบ การจำแนก
กิจกรรมโครงการ กิจกรรมประจำวัน การเล่น กิจกรรมการทดสอบ


การเรียนรู้แบบองค์รวม

กิจกรรมที่จัดสอดคล้องกับประสบการณ์ที่ได้รับ
ครูผู้สอน เด็กควรหลอมรวมหรือเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ให้ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านประสบการณ์ต่าง ๆ สัมพันธ์กันในลักษณะบูรณาการ

แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์

การเปลี่ยนแปลง
ความแตกต่าง
การปรับตัว
พึ่งพาอาศัยกัน
ความสมดุล


การศึกษาวิทยาการวิทยาศาสตร์

ขั้นกำหนดปัญหา
ขั้นตั้งสมมติฐาน
ขั้นรวบรวมข้อมูล
ขั้นสรุปข้อมูล


เจตคติทางวิทยาศาสตร์

ความอยากรู้อยากเห็น
ความเพียรพยายาม
ความมีเหตุผล
ความซื่อสัตย์
ความมีระเบียบและรอบคอบ
ความใจกว้าง


นำเสนอบทความ 
เลขที่ 1 เรื่อง วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา เช่นการสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบ
เลขที่ 2 เรื่อง สอนลูกเรื่องปรากฎการธรรมชาติ การเรียนรู้ทางปรากฎการณ์ธรรมชาติ ส่งเสริมพัฒนาการด้านต่าง ๆ การค้นพบ การอธิบาย ปฏิบัติ จำแนก เปรียบเทียบ
เลขที่ 3 เรื่อง แนวทางการสอนคิดเติมโจทย์ให้กับเด็กอนุบาล 


เทคนิคการสอน (Technical Education)

อาจารย์ใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย โดยใช้ Power Point สรุปความเข้าใจง่าย
มีการถาม-ตอบ ในประเด็นที่เรียน
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
Has been ask and answer skill
Has been critical thinking skill 


การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (Adoption)

สามารถนำความที่เกี่ยวกับทฤษฎีไปใช้ในด้านการจัดประสบการณ์ และการเรียนการสอน ให้กับเด็กได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับพัฒนาการ


ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)

อาจารย์เข้าสอนตรงต่อเวลา ใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย น้ำเสียงที่ใช้น่าฟัง แต่งกายเรียบร้อย เป็นตัวอย่างที่ดีแก่นักศึกษา


วันอังคารที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2558

  No.4
Science experiences management for early childhood
Instructor Jintana Suksamran 
Tuesday,October 8,2558
Time 13.00 - 17.30น
อาจารย์ให้กระดาษ A4 มานึกแผ่น  อาจารย์ให้นักศึกษาคิด ว่าจะพับกระดาษเกี่ยวกับอะไร  ที่สอดคล้องกับ วิทยาศาสตร์
-แสง
-อากาศฅ
-พลังงาน
-น้ำ
-ดิน
-พืช
-สัตว์
-แรงและเคลื่อนที
-ไฟฟ้า
-สารและสมบัติของสาร
-หิน
-ดิน
-ทราย


  No.3

Science experiences management for early childhood
Instructor Jintana Suksamran 
Tuesday,August 11,2558
Time 13.00 - 17.30
  อาจารย์ให้ร่วมจิตกรรมศึกษาศาสตร์ 






 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Learning in the 21st Century)


  • ชีวิตในศตวรรฒที่ 21 ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของศิษย์ โดยครูช่วยแนะนำ และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมินความก้าวหน้า ของการเรียนรู้ของตอนเองได้

ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 (The Skills of people in the 21st Century)



     Learning 3R x 7C



3R


  • Reading (อ่านออก)
  • (W)Riting (เขียนได้)
  • (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น)

7C

  • Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ ทักษะในการแก้ปัญหา)
  • Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรฒ)
  • Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
  • Collaboration,Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ)
  • Communication,Information, and media Literacy (ทักษะ้านการสื่อสารสารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ)
  • Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
  • Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้)
คุณลักษณะของครูในยุคศตวรรษที่ 21 (Features of Teacher in the 21st Century)

  1. Expanded มีความสามารถในการถ่ายทอดหรือขยายความรู้ของตนสู่นักเรียนผ่านเทคโนโลยี
  2. Experience มีประสบการณ์ในการจัดการเรียนรู้แบบใหม่
  3. Exploration มีความสามารถในการเสาะหาและคัดเลือกเนื้อหาความรู้หรือเนื้อหาที่ทันสมัย
  4. Extended มีทักษะการแสวงหาความรู้ใมห่ๆ เพื่อขยายองค์ความรู้ของตนเองผ่านทางสื่อเทคโนโลยี
  5. Evaluation เป็นนักประเมินที่ดี มีความบริสุทธ์ยุติกรรม และ ความสามารถในการประเมินผล
  6. End-User เป็นผู้ที่ใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างคุ้มค่า ใช้ได้อย่างหลากหลาย
  7. Efficient and Effective สามารถใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
  8. Enabler สามารถใช้เทคโนโลยีสร้างบทเรียน เนื้อหา และสื่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
  9. Engagement ต้องร่วมมือและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันผ่านสื่อเทคโนโลยีจนพัฒนาเป็นเครือข่ายความร่วมมือ


 ห้องเรียนสำหรับศตวรรษที่ 21 (Classroom for the 21st Century)


  • Smart Classroom + Smart Learning  = Smart Students
  • ทำให้การเรียนในห้องเรียนมีความหมายด้วย Flipped Classroom,TBL
  • เริ่มต้นการสอน Basic Clinical Science

สรุป (Synopsis)

  • ครูจะเป็นผู้สอนไม่ได้ แต่ต้องให้นักเรียนเป็นผู้เรียนด้วยตนเอง โดยครูจะออกแบบการเรียนรู้ฝึกผนให้ตนเองเป็นโค้ช และอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้แบบ PBL
ภาพบรรยากาศภายในงาน



เทคนิคการสอน (Technical Education)
  • อาจารย์ให้เข้าร่วมกิจกรรมกับทางคณะ เพื่อนำความรู้ที่ได้มาปรับใช้
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills) 
  • ได้รับทักษะการเรียนรู้ของศตวรรษที่ 21 การจัดห้องเรียน และ บทบาทของครู
การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption) 
  • สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับศตวรรษที่ 21
ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)