วันอังคารที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2558

บทความกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ สำหรับเด็กปฐมวัย

           
 
 
 
 
 
บทความวิทยาศาสตร์
 
บทความเรื่อง : การทำอาหารที่ส่งเสริมทักษะทางในเด็กปฐมวัย
 
 
การประกอบอาหารเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ให้แก่เด็กปฐมวัย เพราะเป็นกิจกรรมที่เด็กได้
 
รับประสบการณ์ตรงตั้งแต่ขั้นเตรียม อุปกรณ์ และ ส่วนผสม ส่วนประกอบที่นำมาใช้ในการประกอบอาหาร
 
ก็ล้วนเป็นของจริง ทำให้เด็กเกิดความสนใจ และช่วยทำให้เด็กจดจำง่าย ในขณะที่ทำอาหาร เด็กต้องใช้
 
การสังเกตปริมาณส่วนผสม ส่วนประกอบของอาหารที่จะทำ รวมถึงการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่
 
นำมาใช้ทำอาหาร ืการเปลี่ยนแปลงอุณภูมิการเปรียบเทียบรสชาติในขณะทำอาหารเด็กได้พัฒนาแนว
 
คิดพื้นฐานเกี่ยวกับ  ขนาด รูปร่าง ตัวเลข จำนวน สี การชั่ง ตวง การดมกลิ่นการรู้รสซึ่งจะทำให้เด็กรับรู้
 
ความเหมือน ความต่างและความหมายของสิ่งที่เด็กได้รับรู้นั้น นอกจากนี้เด็กยังได้เรียนรู้ทักษะการ
 
จำแนกเช่นจำแนกส่วนประกอบของอาหารที่นำมาเป็นวัถุดิบในการทำอาหาร จัดห้องเรียนในเหมาะ
 
สมในการทำอาหาร กระตุ้นการเรียนรู้โดยให้เด็กๆใช้ทักษะทางวิทยาศาสตร์ประกอบอาหารที่ต้องใช้
 
ความร้อน หรือต้องใช้อุปกรณ์ที่มีความคมและอาจจะก่อให้เกิดอันตรายต่อเด็ก ผู้ปกครองหรือครรูควร
 
ช่วยเหลืออยู่ใกล้ๆ ตัวอย่างของกิจกรรมประกอบอาหารที่ส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์และเหมาะสม
 
กับเด็กปฐมวัย

วันศุกร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2558

                                   บันทึกอนุทินครั้งที่2 วันอังคาร ที่ 18 สิงหาคม 2558
Diery No.2
Science experiences management for early childhood
Instructor Jintana Suksamran 
Tuesday,August 18,2558
Time 13.00 - 17.30
เกิดเหตุขัดข้องไฟดับ



พัฒนาการทางสติปัญญา (Cognitive Development)



ความหมาย (Meaning) หมายถึง ความเจริญงอกงามด้านความสามารถทางภาษา และ 
การคิดของแต่ ละบุคคล พัฒนามาจากการมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) 
กับ สิ่งแวดล้อม (Environment) 

เริ่มตั้งแต่เกิด ผลของการปฏิสัมพันธ์จะทำให้รู้จัก "ตน" (Self) เพราะ
 ตอนแรกเด็กเราไม่สามารถแยกตนออกสิ่งแวดล้อมได้

การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องอยู่ตลอด
เวลาและตลอดทั้งชีวิตให้เกิดความสมดุล (Equilibrium)

การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 
เพื่อให้เกิดความสมดุลกับสิ่งแวดล้อม

กระบวนการปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ประกอบด้วย 2 ประเภท
กระบวนการดูดซึม (Assimilation)

- Fitting a new experience it to an exisiting mental structure (schema).

  เมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมก็จะซึบซับหรือดูดซึมประสบการณ์ใหม่ให้รวมเข้าในโครงสร้าง
ของสติปัญญา โดยจะเป็นการตีความ

กระบวนการปรับโครงสร้าง (Accommodation)

- Revising and existing schema because of new experience.

  หรือเป็นการเปลี่ยนแปลงความคิดเิดมให้สอดคล้องกับประสบการณ์ใหม่

สรุป (Synopsis) สติปัญญาจึงเกิดจากการเริ่มแนวคิดและพฤติกรรมจนเข้าสู่ภาวะสมดุล เทคนิค
การสอน (Technical Education)
อาจารย์มีการตั้งคำถาม เพื่อให้เด็กตอบคำถาม แชร์ความคิดเห็น

อาจารย์สรุปองค์ความรู้มาในรูปแบบของ Power Point เนื้อหาสั้นได้ใจความ

ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills) 
ได้ทักษะการถามและการตอบคำถาม (Has been ask and answer skills)

การนำไปประยุกต์ใช้ (Adoption) 
สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการพัฒนาการของเด็กทางด้านสติปัญญา 

จัดประสบการณ์ให้ตรงกับพัฒนาการของเด็ก

ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)
อาจารย์เข้าสอนตรงต่อเวลา ใช้น้ำเสียงหนักเบาได้อย่างน่าสนใจ 

แต่งกายเรียบร้อยเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักศึกษา
 


Diary No.1

Science experiences management for early childhood
Instructor Jintana Suksamran 
Tuesday,August 11,2558
Time 13.00 - 17.30

Knowledeg Gained

 คุณสมบัติของบัณฑิต 6 ด้าน
1) ความรู้
2) คุณธรรม
3) เทคโนโลยีสื่อสาร
4) ทักษะทางด้านปัญญา
5) ความสัมพันธ์ทักษะทางสังคม
6) การจัดการเรียนรู้

คำสำคัญ 3 คำ มีดังนี้

1) เด็กปฐมวัย

การจัดการประสบการณ์ต้องให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กปฐมวัย
 - พัฒนาการ คือ ความสามารถในด้านต่างที่จะเป็นไปตามลำดับขั้นตอน
 - ภาษาและคณิตศาสตร์ เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ของเด็ก
 - วิธีการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย ได้ลงมือปฏิบัติจริงโดยใช้ประสาทสัมผัสทั้ง5 ได้ทำงานพร้อมกัน

2) วิทยาศาสตร์ 
สาระสำคัญ 4 ด้าน
 - เกี่ยวกับเด็ก
 - ธรรมชาติรอบตัว
 - สิ่งต่างๆรอบตัว


ทักษะทางวิทยาศาสตร์มีดังนี้
 - ทักษะการสังเกต
 - จำแนกประเภท
 - การสื่อความหมาย
 -  การลงความคิดเห็นจากข้อมูล
 - หาความสัมพันธ์ระหว่างสเปลสกับสเปลส สเปลสกับเวลา การคำนวน

4)การจัดประสบการณ์
 - หลักการจัดประสบการณ์
 - เทคนิคการจัดประสบการณ์
 - กระบวนการจัดประสบการณ์
 - ทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์
 - สื่อและสภาพแวดล้อมสนับสนุนการจัดประสบการณ์

 - การประเมิน
Skill

 ได้ร่วมกันระดมความคิด เพื่อที่จะตอบคำถามจากอาจารย์ร่วมกับเพื่อนๆ

ได้ความรู้จาก อาจารย์เพิ่มเติม

Adoption

รู้หลักการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย การจัดประสบการณ์ต่างๆจะต้องทำให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงวัย เพื่อให้เด็กได้เกิดการเรียนรู้ที่สมกับวัย


Teaching Methods
 - ใช้ Program Mind Map
 - แจกแนวการสอน




 
Rating Friends


เนื่องจากในวันนี้เป็นการเปิดเทอมวันแรก อุปกรณ์การเรียนของเพื่อนๆในห้องจึงยังไม่พร้อมเท่าที่ควร และเพื่อนบางคนยังไม่พร้อมาเข้าเรียน




Teacher Evaluation
อาจารย์เตรียมพร้อมในการเรียนการสอนเป็นอย่างดี พร้อมทั้งมีแนวการสอนและการอธิบายในวิชาเบื้องต้น พร้อมกับชี้แจงเรื่องคะแนนและการสอบ