วันจันทร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2558



No.5

     Science experiences management for early childhood

Instructor Jintana Suksamran 

Tuesday,October 15,2558
Time 13.00 - 17.30น


การทำงานของสมอง กับ พัฒนาการ

พัฒนาการ คือ การพัฒนาของสมองหรือการทำงานของสมอง 
สมองจะเชื่อมโยงความรู้เดิม และจะทำให้เกิดความรู้ใหม่
หลักการ/แนวคิดสู่การปฎิบัติจริง
     
   กีเซล พัฒนาการของเด็กเป็นไปอย่างมีแบบแผนและขั้นตอน 
การเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากการเคลื่อนไหว


  การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก

จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหว การเคลื่อนที่ เช่น การเล่นกลางแจ้ง
จัดกิจกรรมที่สร้างสรรค ฝึกการใช้มือและประสาทสัมผัสระหว่างมือกับตา
จัดกิจกรรมให้เด็กฟังเพลง นิทาน 
ทำกิจกรรมเดี่ยวและกลุ่ม


   ฟรอยด์

ประสบการณ์วัยเด็กส่งผลต่อบุคลิกของคนเรา เมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่


   การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
ครูควรเป็นแบบอย่างที่ดี
จัดกิจกรรมเป็นขั้นตอนจากง่ายไปยาก
จัดสิ่งแวดล้อมที่บ้านและโรงเรียน เพื่อส่งเสริมพัฒนาบุคลิกภาพของเด็ก


   อิริคสัน (Erikson)
ถ้าเด็กอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เด็กพอใจ เด็กจะมองโลกในแง่ดีมีความเชื่อมันในตัวเอง


   การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
จัดกิจกรรมให้เด็กได้ประสบผลสำเร็จ พึงพอใจต่อสภาพแวดล้อมของห้องเรียน เพื่อน ครู
จัดบรรยากาศในห้องเรียน ให้เด็กมีโอกาสสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม


   ดิวอี้ (Dewey)
Learning by doing เรียนรู้ผ่านการกระทำ


   การปฏิบัติการพัฒนาเด็ก
จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมให้ความรัก ให้เวลา และให้เด็กได้เรียนรู้ผ่านประสาทประสบการณ์จริง


   สกินเนอร์ (Skinner)
ถ้าเด็กได้รับคำชมเชยและประสบผลสำเร็จในการทำกิจกรรม เด็กก็จะสนใจทำต่อไป


   เปสตาลอสซี่ (Pestalozzi)
ความรักเป็นพื้นฐานสำคัญและจำเป็นต่อการพัฒนาการเด็ก
เด็กไม่ควรถูกบังคับโดยการท่องจำ


   เฟอเบล (Froeble)
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กตามธรรมชาติ


   เอลคายน์ (Elkind)
การเร่งเด็กให้เรียนรู้แต่เล็กเป็นอันตรายต่อเด็ก
เด็กควรมีโอกาสเล่นและเลือกกิจกรรมการเล่นด้วยตนเอง


การเรียนรู้อย่างมีความสุข
     การพัฒนาการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
การเรียรู้จากการคิดและการปฏิบัติ
การเรียนรู้แบบองค์รวมที่ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้าน


สรุป 

พัฒนาการเด็กให้ครบทุกด้าน พัฒนาการเน้นให้เด็กช่วยเหลือตนเองและอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมที่จัดต้องมีความสมดุล ยึดเด็กเป็นสำคัญ และต้องประสานสัมพันธ์กับครอบครัวและชุมชน ครอบครัวมีความสำคัญต่อการส่งเสริมและพัฒนาการเด็ก


การเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง

การเรียนรู้จากการคิดและปฏิบัติจริง
เรียนรู้โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5
พัฒนาทักษะการสังเกต การเปรียบเทียบ การจำแนก
กิจกรรมโครงการ กิจกรรมประจำวัน การเล่น กิจกรรมการทดสอบ


การเรียนรู้แบบองค์รวม

กิจกรรมที่จัดสอดคล้องกับประสบการณ์ที่ได้รับ
ครูผู้สอน เด็กควรหลอมรวมหรือเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์ให้ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านประสบการณ์ต่าง ๆ สัมพันธ์กันในลักษณะบูรณาการ

แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์

การเปลี่ยนแปลง
ความแตกต่าง
การปรับตัว
พึ่งพาอาศัยกัน
ความสมดุล


การศึกษาวิทยาการวิทยาศาสตร์

ขั้นกำหนดปัญหา
ขั้นตั้งสมมติฐาน
ขั้นรวบรวมข้อมูล
ขั้นสรุปข้อมูล


เจตคติทางวิทยาศาสตร์

ความอยากรู้อยากเห็น
ความเพียรพยายาม
ความมีเหตุผล
ความซื่อสัตย์
ความมีระเบียบและรอบคอบ
ความใจกว้าง


นำเสนอบทความ 
เลขที่ 1 เรื่อง วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ส่งเสริมพัฒนาการทางด้านสติปัญญา เช่นการสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบ
เลขที่ 2 เรื่อง สอนลูกเรื่องปรากฎการธรรมชาติ การเรียนรู้ทางปรากฎการณ์ธรรมชาติ ส่งเสริมพัฒนาการด้านต่าง ๆ การค้นพบ การอธิบาย ปฏิบัติ จำแนก เปรียบเทียบ
เลขที่ 3 เรื่อง แนวทางการสอนคิดเติมโจทย์ให้กับเด็กอนุบาล 


เทคนิคการสอน (Technical Education)

อาจารย์ใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย โดยใช้ Power Point สรุปความเข้าใจง่าย
มีการถาม-ตอบ ในประเด็นที่เรียน
ทักษะที่ได้รับ (Gain Skills)
Has been ask and answer skill
Has been critical thinking skill 


การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ (Adoption)

สามารถนำความที่เกี่ยวกับทฤษฎีไปใช้ในด้านการจัดประสบการณ์ และการเรียนการสอน ให้กับเด็กได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับพัฒนาการ


ประเมินอาจารย์ (Teaching Evaluation)

อาจารย์เข้าสอนตรงต่อเวลา ใช้สื่อการสอนที่ทันสมัย น้ำเสียงที่ใช้น่าฟัง แต่งกายเรียบร้อย เป็นตัวอย่างที่ดีแก่นักศึกษา


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น